149
โครงการทดสอบสิ
นค้
า OTOP เพื ่
อยกระดั
บคุ
ณภาพสิ
นค้
าและความปลอดภั
ยของผู
้
บริ
โภค
โครงการส่
งเสริ
มการพั
ฒนาผลิ
ตภั
ณฑ์
สมุ
นไพร (OTOP)
ในภาคกลางและจั
งหวั
ดเครื
อข่
าย
1. วั
ตถุ
ประสงค์
1.1 เพื่
อส่
งเสริ
มคุ
ณภาพและยกระดั
บสิ
นค้
า OTOP ประเภทสมุ
นไพรที่
ไม่
ใช่
อาหาร เช่
น สบู่
ก้
อน สบู่
เหลว
สบู่
กลี
เซอรี
น แชมพู
ผลิ
ตภั
ณฑ์
ท�
ำความสะอาดภาชนะที่
ใช้
ในครั
วเรื
อน
1.2 เพื่
อสร้
างความเชื่
อมั่
นให้
กั
บประชาชนในการใช้
สิ
นค้
า OTOP ที่
ผลิ
ตในประเทศ
2. ผลการด�
ำเนิ
นงาน
การด�
ำเนิ
นงานประกอบด้
วย 2 ส่
วน คื
อ จั
ดฝึ
กอบรมเชิ
งปฏิ
บั
ติ
การ 7 ครั้
ง 7 จั
งหวั
ด และลงพื้
นที่
ให้
ค�
ำปรึ
กษา
เชิ
งลึ
กแก่
ผู้
ประกอบการเพื่
อแก้
ปั
ญหาผลิ
ตภั
ณฑ์
4 ครั้
ง 6 จั
งหวั
ด
ประเทศไทยเป็
นแหล่
งผลิ
ตสมุ
นไพรที่
ส�
ำคั
ญ การใช้
สมุ
นไพรเป็
นภู
มิ
ปั
ญญาดั้
งเดิ
มของคนไทยที่
ได้
รั
บ
การถ่
ายทอดจากรุ
่
นสู
่
รุ
่
น วั
ตถุ
ดิ
บสมุ
นไพรสามารถน�
ำมาแปรรู
ปเบื้
องต้
นเป็
นผลิ
ตภั
ณฑ์
หลายชนิ
ดทั้
งในรู
ปยารั
กษาโรค
อาหารเสริ
ม เครื่
องส�
ำอาง ตลอดจนยาก�
ำจั
ดศั
ตรู
พื
ช ปั
จจุ
บั
นมี
การน�
ำสมุ
นไพรหลายชนิ
ดมาใช้
ส�
ำหรั
บบ�
ำรุ
งผิ
ว จึ
งมี
การน�
ำ
สมุ
นไพรเหล่
านี้
มาเป็
นส่
วนผสมในผลิ
ตภั
ณฑ์
เครื่
องส�
ำอางเป็
นจ�
ำนวนมาก กรมวิ
ทยาศาสตร์
บริ
การโดยส�
ำนั
กเทคโนโลยี
ชุ
มชน มี
การวิ
จั
ยและพั
ฒนาเทคโนโลยี
ด้
านผลิ
ตภั
ณฑ์
สมุ
นไพร เช่
น สบู
่
ก้
อน สบู
่
เหลว สบู
่
ก้
อนกลี
เซอรี
น แชมพู
และผลิ
ตภั
ณฑ์
ล้
างจาน มาอย่
างต่
อเนื่
อง อี
กทั้
งยั
งมี
การถ่
ายทอดเทคโนโลยี
ขั้
นตอนการผลิ
ตผลิ
ตภั
ณฑ์
สมุ
นไพรให้
มี
คุ
ณภาพ
และมาตรฐานให้
กั
บกลุ
่
มผู
้
ประกอบการระดั
บชุ
มชนและ SMEs รวมถึ
งการให้
ค�
ำปรึ
กษาในด้
านระบบคุ
ณภาพ เช่
น
หลั
กเกณฑ์
วิ
ธี
การที
่
ดี
ในการผลิ
ตเครื่
องส�
ำอางว่
าด้
วยสุ
ขลั
กษณะทั่
วไป (Good Hygienic Practice for Cosmetics, GHP)
หลั
กเกณฑ์
และวิ
ธี
การที่
ดี
ในการผลิ
ต (Goods Manufacturing Practice, GMP) เป็
นต้
น และจากการส�
ำรวจของกรม
วิ
ทยาศาสตร์
บริ
การในปี
2557 นั้
น พบว่
าผลิ
ตภั
ณฑ์
หนึ่
งต�
ำบลหนึ่
งผลิ
ตภั
ณฑ์
(OTOP) ประเภทสมุ
นไพรที่
ไม่
ใช่
อาหารที่
ยั
งไม่
ผ่
านเกณฑ์
มาตรฐานนั้
นยั
งมี
จ�
ำนวนมาก ปั
ญหาที่
มั
กพบในผลิ
ตภั
ณฑ์
คื
อ ผลิ
ตภั
ณฑ์
มี
ปริ
มาณเชื้
อจุ
ลิ
นทรี
ย์
มากเกิ
น
กว่
าที่
มาตรฐานก�
ำหนด ผลิ
ตภั
ณฑ์
เกิ
ดการแยกชั้
นเมื่
อทิ้
งไว้
เป็
นเวลานาน ค่
าความเป็
นกรด-ด่
างเกิ
นกว่
ามาตรฐานที่
ก�
ำหนด
ปริ
มาณไขมั
นในสบู
่
ก้
อนต�่
ำกว่
าที่
มาตรฐานก�
ำหนด ดั
งนั้
นโครงการนี้
จึ
งมุ
่
งเน้
นที่
จะส่
งเสริ
มผู
้
ประกอบการที่
มี
ความเข้
มแข็
ง
ปานกลางหรื
อผู
้
ประกอบการกลางน�้
ำเข้
าสู
่
กระบวนการซึ่
งผู
้
ประกอบการกลุ
่
มนี้
เป็
นกลุ
่
มที่
รั
ฐบาลให้
ความส�
ำคั
ญในการ
เพิ่
มศั
กยภาพโดยน�
ำวิ
ทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี
เข้
าไปช่
วยแก้
ไขปั
ญหาด้
านคุ
ณภาพของสิ
นค้
า เพิ่
มประสิ
ทธิ
ภาพการผลิ
ต
รวมถึ
งผลั
กดั
นให้
ผู
้
ประกอบการยื่
นค�
ำขอการรั
บรองมาตรฐานผลิ
ตภั
ณฑ์
ชุ
มชน (มผช.) หรื
อยื่
นจดแจ้
งเครื่
องส�
ำอางควบคุ
ม
ของส�
ำนั
กงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เป็
นการสร้
างความเชื่
อถื
อต่
อผู
้
บริ
โภคโดยผสมผสานวั
ฒนธรรม
ภู
มิ
ปั
ญญากั
บวิ
ทยาศาสตร์
เทคโนโลยี
และนวั
ตกรรม เพื่
อให้
ผู
้
ประกอบการสามารถขยายโอกาสทางการตลาด ซึ่
งจะเชื่
อมโยง
กั
บเศรษฐกิ
จภู
มิ
ภาคและยกระดั
บไปสู
่
ตลาดต่
างประเทศได้
ในอนาคต เป็
นการสร้
างรายได้
สร้
างคุ
ณภาพชี
วิ
ต และพั
ฒนา
เศรษฐกิ
จฐานรากของไทยให้
เข้
มแข็
งได้
ดี
ยิ่
งขึ้
น