12
รายงานผลการดำ
�เนิ
นงานประจำ
�ปี
2558
วิ
ทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี
กระทรวงอุ
ตสาหกรรม กระทรวงศึ
กษาธิ
การ (ส�
ำนั
กงาน
คณะกรรมการอุ
ดมศึ
กษาแห่
งชาติ
สกอ.) ร่
วมมื
อกั
นและมอบหมายให้
มหาวิ
ทยาลั
ยของรั
ฐที่
มี
ความพร้
อมเพื่
อรองรั
บการให้
บริ
การทดสอบคุ
ณภาพสิ
นค้
า OTOP
- กลุ่
มห้
องปฏิ
บั
ติ
การที่
ให้
บริ
การทดสอบคุ
ณภาพสิ
นค้
า OTOP ที่
อยู่
ระหว่
างการด�
ำเนิ
นการเพื่
อ
ขอการรั
บรองความสามารถห้
องปฏิ
บั
ติ
การทดสอบตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 มี
ความ
ต้
องการให้
กรมวิ
ทยาศาสตร์
บริ
การ จั
ดอบรมในพื้
นที่
ภู
มิ
ภาคอย่
างสม�่
ำเสมอ หั
วข้
อเกี่
ยวกั
บวิ
ธี
การวิ
เคราะห์
ทดสอบ และข้
อก�
ำหนดตามมาตรฐาน ISO/IEC 170 และจั
ดให้
มี
ที่
ปรึ
กษาหลั
ง
การอบรม
- กลุ
่
มห้
องปฏิ
บั
ติ
การที่
ได้
รั
บการรั
บรองความสามารถห้
องปฏิ
บั
ติ
การทดสอบตามมาตรฐาน ISO/
IEC 17025 จากกรมวิ
ทยาศาสตร์
บริ
การแล้
ว ยั
งพบปั
ญหาคื
อ ขาดงบประมาณและความรู
้
ด้
าน
การทดสอบคุ
ณภาพสิ
นค้
า OTOP ห้
องปฏิ
บั
ติ
การบางหน่
วยตรวจสอบได้
เพี
ยงรายการ
ทางจุ
ลิ
นทรี
ย์
ต้
องการให้
กรมวิ
ทยาศาสตร์
บริ
การจั
ดอบรมในช่
วงปิ
ดเทอม จะสะดวกส�
ำหรั
บ
บุ
คลากรภาคการเรี
ยนการสอน และต้
องการให้
จั
ดอบรมด้
านวิ
ธี
มาตรฐานที่
ภายในมหาวิ
ทยาลั
ย
ยั
งไม่
มี
การบู
รณาการร่
วมกั
น จึ
งท�
ำให้
ไม่
สามารถทดสอบได้
ครอบคลุ
ม ทุ
กรายการของสิ
นค้
า
OTOP แต่
ละชนิ
ด
•
สรุ
ปผลการประเมิ
นภาพรวมการจั
ดสั
มมนาฯ
การประเมิ
นภาพรวมการจั
ดสั
มมนาฯ จากการตอบแบบสอบถามของผู
้
ประกอบการ OTOP ที่
เข้
าร่
วม
สั
มมนาจ�
ำนวน 315 คน ได้
รั
บแบบสอบถามคื
นจ�
ำนวน 286 ฉบั
บ คิ
ดเป็
นร้
อยละ 90.79 สรุ
ปได้
ดั
งนี้
กลุ
่
มผู
้
ประกอบการ OTOP อยู
่
ในกลุ
่
มผลิ
ตภั
ณฑ์
ประเภทผ้
าและเครื่
องแต่
งกายมากที่
สุ
ด จ�
ำนวน 120 คน
คิ
ดเป็
นร้
อยละ 42.00 รองลงมาคื
อ กลุ่
มผลิ
ตภั
ณฑ์
อาหารและเครื่
องดื่
ม จ�
ำนวน 79 คน คิ
ดเป็
นร้
อยละ 27.60 กลุ่
ม
ผลิ
ตภั
ณฑ์
ของใช้
ของประดั
บตกแต่
ง ของที่
ระลึ
ก จ�
ำนวน 49 คน คิ
ดเป็
นร้
อยละ 17.10 กลุ่
มผลิ
ตภั
ณฑ์
สมุ
นไพรที่
ไม่
ใช่
อาหาร จ�
ำนวน 32 คน คิ
ดเป็
นร้
อยละ 11.20 กลุ่
มผลิ
ตภั
ณฑ์
ห้
องปฏิ
บั
ติ
การที่
ให้
บริ
การทดสอบคุ
ณภาพสิ
นค้
า จ�
ำนวน
29 คน คิ
ดเป็
นร้
อยละ 09.10 และ กลุ
่
มอื่
น ๆ ซึ่
งเป็
นเจ้
าหน้
าที่
จากหน่
วยงานราชการที่
เกี่
ยวข้
อง จ�
ำนวน 2 คน
คิ
ดเป็
นร้
อยละ 0.70
- ข้
อคิ
ดเห็
น : ผู้
ประกอบการ OTOP ส่
วนใหญ่
มี
ความพึ
งพอใจต่
อภาพรวมของการจั
ดสั
มมนาฯ อยู่
ใน
ระดั
บความพึ
งพอใจมากที่
สุ
ด ร้
อยละ 87.4 และ ความรู้
ที่
ได้
รั
บมี
ประโยชน์
ต่
อการน�
ำไปประยุ
กต์
ใช้
งานได้
อยู่
ในระดั
บ
พึ
งพอใจมากที่
สุ
ด ร้
อยละ 86.2 ซึ่
งมี
ข้
อคิ
ดเห็
นต่
อการจั
ดงานสั
มมนาว่
าเป็
นกิ
จกรรมที่
เป็
นประโยชน์
มากกั
บผู้
ประกอบ
การ OTOP เป็
นช่
องทางที่
ผู
้
ประกอบการที่
ประสบปั
ญหาจะได้
แลกเปลี่
ยนประสบการณ์
และขอค�
ำแนะปรึ
กษา
การสั
มมนาฯ ส่
งเสริ
มให้
ได้
รั
บความรู
้
ประยุ
กต์
ใช้
ในการประกอบอาชี
พ รวมทั้
งยั
งเป็
นประโยชน์
กั
บหน่
วยงานภาคี
ที่
เกี่
ยวข้
อง ช่
วยให้
เห็
นความต้
องการของชุ
มชนอย่
างแท้
จริ
ง การอบรมสั
มมนาได้
รั
บความรู้
เป็
นอย่
างมาก เนื้
อหาน่
าสนใจ
เป็
นเรื่
องที่
เป็
นประโยชน์
มาก สามารถน�
ำไปปรั
บใช้
ได้
- ข้
อเสนอแนะ : ผู
้
ประกอบการ OTOP มี
ความต้
องการให้
กรมวิ
ทยาศาสตร์
บริ
การช่
วยเหลื
อเพิ่
มเติ
ม
ต้
องการให้
เพิ่
มเติ
มความรู
้
สู
่
อาชี
พให้
มากขึ้
น อยากให้
ช่
วยดู
แลด้
านการบรรจุ
ภั
ณฑ์
และการดู
แลในกระบวนการยื่
นขอ
การรั
บรอง มผช. เพื่
อเพิ่
มคุ
ณภาพ ของผลิ
ตภั
ณฑ์
ได้
อย่
างเป็
นรู
ปธรรมมากขึ้
น รวมทั้
งขอความอนุ
เคราะห์
ให้
กรมวิ
ทยาศาสตร์
บริ
การเป็
นที่
ปรึ
กษาและให้
ความรู
้
กั
บผู
้
ประกอบการและกลุ
่
มวิ
สาหกิ
จชุ
มชนเพื่
อให้
สามารถน�
ำเทคโนโลยี
มาพั
ฒนาผลิ
ตภั
ณฑ์
ได้