โครงการพั
ฒนาคุ
ณภาพผลิ
ตภั
ณฑ์
อาหารในกลุ่
มจั
งหวั
ดชายแดนใต้
สู่
การรั
บรองมาตรฐานฮาลาล
กรมวิ
ทยาศาสตร์
บริ
การ กระทรวงวิ
ทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี
20
4.1.6 มุ
สลิ
มที่
อยู่
ในประเทศไม่
ใช่
ประเทศอิ
สลาม
ต้
องพยามขอรั
บใบอนุ
ญาตให้
ถู
กต้
องตามกฎหมายในการเชื
อดสั
ตว์
ตาม
แนวทางอิ
สลาม โดยไม่
ต้
องทํ
าให้
สั
ตว์
สงบ
4.1.7 อนุ
ญาตให้
มุ
สลิ
มที่
เดิ
นทางไปท่
องเที่
ยว หรื
อพํ
านั
กอยู่
ในประเทศ
ที่
ไม่
ใช่
ประเทศอิ
สลาม
สามารถรั
บประทานสั
ตว์
ที่
เชื
อดโดยชาวคั
มภี
ร์
ได้
จากสั
ตว์
ที่
ศาสนา
อิ
สลามอนุ
ญาตให้
รั
บประทาน โดยต้
องมั่
นใจว่
าไม่
มี
สิ่
งต้
องห้
ามปะปนอยู่
ในเนื้
อนั้
น เว้
นแต่
พวกเขาจะมั่
นใจว่
าเป็
นสั
ตว์
ที่
ไม่
ได้
เชื
อดอย่
างถู
กต้
องตามบั
ญญั
ติ
ศาสนา
5. ประเทศไทยกั
บการผลิ
ตอาหารฮาลาล
5.1 การผลิ
ตเพื่
อผู้
บริ
โภคในประเทศ
ประเทศไทยมี
มุ
สลิ
มซึ่
งนั
บถื
อศาสนาอิ
สลามนั
บล้
านคนมุ
สลิ
มจํ
าเป็
นต้
อง
บริ
โภคอาหารฮาลาล ดั
งนั้
นการ ผลิ
ตอาหารฮาลาลในระยะแรกจึ
งเป็
นเรื่
องของ
ผู้
ประกอบการมุ
สลิ
มผลิ
ตเพื่
อจํ
าหน่
ายแก่
ผู้
บริ
โภคมุ
สลิ
มด้
วยกั
นจึ
งไม่
จํ
าเป็
นต้
องมี
การ
รั
บรองอาหารฮาลาล
ต่
อมาเมื่
อประชากรชาวมุ
สลิ
มมี
จํ
านวนมากขึ้
น ความต้
องการอาหารฮา
ลาลมี
เพิ่
มขึ้
น ผู้
ประกอบการซึ่
งผลิ
ตอาหารซึ่
งมิ
ใช่
มุ
สลิ
มมองเห็
นช่
องทางการตลาดในหมู่
ผู้
บริ
โภคมุ
สลิ
มจึ
งต้
องการผลิ
ตอาหารฮาลาลเพื่
อจํ
าหน่
ายแก่
มุ
สลิ
ม แต่
มี
ปั
ญหาว่
าจะทํ
า
อย่
างไรให้
ผู้
บริ
โภคเชื่
อถื
อว่
า เป็
นอาหารฮาลาล ในที่
สุ
ดผู้
ประกอบการจึ
งขอให้
“จุ
ฬาราชมนตรี
” ดํ
าเนิ
นการตรวจและให้
การรั
บรองฮาลาล
การอนุ
ญาตให้
ใช้
เครื่
องหมายรั
บรองฮาลาลโดยจุ
ฬาราชมนตรี
ได้
เริ่
มมี
ขึ้
น
เมื่
อปี
พ.ศ. 2491 ในสมั
ยที่
อาจารย์
ต่
วน สุ
วรรณศาสน์
เป็
นจุ
ราชมนตรี
และดํ
าเนิ
นการให้
ใช้
เครื่
องหมายฮาลาลเรื่
อยมา จนท่
านจุ
ฬา ฯ ต่
วนถึ
งแก่
กรรม
ต่
อมาอาจารย์
ประเสริ
ฐ มะหะหมั
ด ได้
รั
บพระมหากรุ
ณาธิ
คุ
ณโปรดเกล้
าฯ
ให้
ดํ
ารงตํ
าแหน่
งจุ
ฬาราชมนตรี
เมื่
อวั
นที่
10 กั
นยายน พ.ศ. 2524 และได้
ดํ
าเนิ
นการให้
ใช้
เครื่
องหมายรั
บรองฮาลาลในนามคณะกรรมการกลางอิ
สลามแห่
งประเทศไทย (ตาม